- ข้อมูลเศรษฐกิจการเกษตร
- สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์
- รายละเอียดสถานการณ์ผลิดและการตลาด
สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 31 มกราคม-6 กุมภาพันธ์ 2563
ข้าว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 มาตรการสินค้าข้าว
1) แผนการผลิตและการตลาดข้าวครบวงจร ปีการผลิต 2562/63
มติที่ประชุม คณะกรรมการนโยบายและบริหารจัดการข้าว (นบข.) ครั้งที่ 1/2562 เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2562เห็นชอบแผนการผลิตและการตลาดข้าวครบวงจร ปีการผลิต 2562/63และมติที่ประชุม นบข.ครั้งที่ 2/2562 เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2562 เห็นชอบในหลักการตามแผนการผลิตและการตลาดข้าวครบวงจร ปีการผลิต 2562/63 ตามมติ
ที่ประชุมคณะอนุกรรมการกำกับติดตามแผนการผลิตและการตลาดข้าวครบวงจร เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2562
การดำเนินงานประกอบด้วย 5 ช่วง ดังนี้
ช่วงที่ 1 การกำหนดอุปสงค์ อุปทานข้าว ได้กำหนดอุปสงค์ 32.48 ล้านตันข้าวเปลือกอุปทาน 34.16 ล้านตันข้าวเปลือก
ช่วงที่ 2 ช่วงการผลิตข้าว ได้แก่
1.1) การกำหนดพื้นที่เป้าหมายส่งเสริมการปลูกข้าว เป้าหมายรอบที่ 1 จำนวน 58.99 ล้านไร่
โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ประกาศพื้นที่เป้าหมายส่งเสริมการปลูกข้าวแล้ว เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2562 และรอบที่ 2จำนวน 13.81 ล้านไร่
1.2) การขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกข้าว เป้าหมาย รอบที่ 1 จำนวน 4.00 ล้านครัวเรือน และ รอบที่ 2 จำนวน 0.30 ล้านครัวเรือน
1.3) การจัดการปัจจัยการผลิต ได้แก่ โครงการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ดี และควบคุมค่าเช่าที่นา
1.4) การปรับปรุงพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ได้แก่ การจัดรูปที่ดินและปรับระดับพื้นที่นา
1.5) การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าว ได้แก่ (1) โครงการระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ (นาแปลงใหญ่) (2) โครงการส่งเสริมการผลิตและการตลาดข้าวพันธุ์ กข43 (3) โครงการส่งเสริมระบบเกษตรแบบแม่นยำสูง (4) โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพชั้นเลิศ (5) โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวอินทรีย์ (6) โครงการรักษาระดับปริมาณการผลิตและคุณภาพข้าวหอมมะลิ (7) โครงการปรับเปลี่ยนระบบการผลิตข้าวในพื้นที่ลุ่มต่ำ 13 ทุ่ง (8) โครงการปรับเปลี่ยนพื้นที่ไม่เหมาะสมกับการปลูกข้าวไปเป็นพืชอื่น (Zoning by Agri-Map) (9) โครงการส่งเสริมการปลูกพืชหลากหลาย
(10) โครงการปลูกพืชปุ๋ยสด และ (11) โครงการประกันภัยพืชผล
ช่วงที่ 3 ช่วงการเก็บเกี่ยวและหลังเก็บเกี่ยว ได้แก่ (1) โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ
รถเกี่ยวนวดข้าว และ (2) โครงการยกระดับมาตรฐานโรงสี กลุ่มเกษตรกรและวิสาหกิจชุมชน เพื่อเพิ่มศักยภาพการเชื่อมโยงตลาดข้าวนาแปลงใหญ่
ช่วงที่ 4 ช่วงการตลาดในประเทศได้แก่ (1) โครงการเชื่อมโยงตลาดข้าวอินทรีย์และข้าว GAP ครบวงจร
(2) โครงการรณรงค์บริโภคข้าวและผลิตภัณฑ์ข้าวของไทยทั้งตลาดในประเทศ และต่างประเทศ พ.ศ. 2563-2565
(3) โครงการประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมและสร้างการรับรู้ถึงคุณประโยชน์ของการบริโภคผลผลิตภัณฑ์น้ำนมข้าว
(4) โครงการรณรงค์บริโภคข้าวสาร Q และข้าวพันธุ์ กข43 ปีการผลิต 2561/62 (5) โครงการช่วยเหลือค่าเก็บเกี่ยว
และปรับปรุงคุณภาพข้าว (6) โครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร (7) โครงการชดเชยดอกเบี้ยให้ผู้ประกอบการในการเก็บสต็อก และ (8) โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือก
ช่วงที่ 5 ช่วงการตลาดต่างประเทศได้แก่ (1) การจัดหาและเชื่อมโยงตลาดต่างประเทศ (2) การส่งเสริมภาพลักษณ์และประชาสัมพันธ์ข้าว ผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรมข้าว (3) การส่งเสริมพัฒนาการค้าสินค้ามาตรฐานและปกป้องคุ้มครองเครื่องหมายการค้า/เครื่องหมายรับรองข้าวหอมมะลิไทย และ (4) การประชาสัมพันธ์การบริโภคข้าวและผลิตภัณฑ์ของไทยทั้งตลาดในประเทศและต่างประเทศ
2) โครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าว ปี 2562/63 รอบที่ 1
มติที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2562 เห็นชอบในหลักการโครงการประกันรายได้เกษตรกร
ผู้ปลูกข้าว ปี 2562/63 รอบที่ 1 ภายในกรอบวงเงินงบประมาณ 21,495.74 ล้านบาท เพื่อป้องกันความเสี่ยงด้านราคาไม่ให้ประสบปัญหาขาดทุน ลดภาระค่าใช้จ่ายของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาราคาข้าว และให้กลไกตลาดทำงานเป็นปกติ โดยดำเนินการในพื้นที่เพาะปลูกข้าวทั่วประเทศ ดังนี้
2.1) ชนิดข้าว ราคา และปริมาณประกันรายได้ (ณ ราคาความชื้นไม่เกิน 15%) โดยชดเชยเป็นจำนวนตันในแต่ละชนิดข้าว ดังนี้
กรณีเกษตรกรเพาะปลูกข้าวมากกว่า 1 ชนิด ได้สิทธิ์ไม่เกินจำนวนขั้นสูงของข้าวแต่ละชนิด เมื่อรวมกันต้องไม่เกินขั้นสูงของชนิดข้าวที่กำหนดไว้สูงสุดและได้สิทธิ์ตามลำดับระยะเวลาที่แจ้งเก็บเกี่ยวข้าวแต่ละชนิด
2.2) เกษตรกรผู้มีสิทธิได้รับการชดเชย เป็นเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนผู้ปลูกข้าวนาปี ปีการผลิต 2562/63 (รอบที่ 1) กับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่ปลูกข้าวระหว่างวันที่ 1 เมษายน - 31 ตุลาคม 2562 ยกเว้นภาคใต้ ระหว่างวันที่ 16 มิถุนายน 2562 - 28 กุมภาพันธ์ 2563
2.3) ระยะเวลาที่ใช้สิทธิขอชดเชย เกษตรกรสามารถใช้สิทธิระหว่างวันที่ 15 ตุลาคม 2562 -
28 กุมภาพันธ์ 2563 ยกเว้นภาคใต้ตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ - 31 พฤษภาคม 2563 โดยสามารถใช้สิทธิได้ตั้งแต่
วันที่เก็บเกี่ยวเป็นต้นไป ยกเว้นเกษตรกรที่เก็บเกี่ยวก่อนวันที่กำหนดให้ใช้สิทธิได้ตั้งแต่วันเริ่มโครงการ
2.4) การประกาศราคาเกณฑ์กลางอ้างอิง คณะอนุกรรมการกำกับดูแลและกำหนดเกณฑ์กลางอ้างอิงโครงการฯ ได้ประกาศราคาอ้างอิง งวดที่ 1 - 4 ทุก 15 วัน โดยจ่ายเงินครั้งแรก ในวันที่ 15 ตุลาคม 2562 สำหรับเกษตรกรได้รับสิทธิตั้งแต่วันที่เก็บเกี่ยว - 15 ตุลาคม 2562 สำหรับงวดที่ 5 เป็นต้นไป ได้ปรับการประกาศใหม่เป็นทุกวันศุกร์
(ทุก 7 วัน) เพื่อให้ราคาเกณฑ์กลางอ้างอิงมีความสอดคล้องกับข้อเท็จจริงในช่วงที่เกษตรกรเก็บเกี่ยวและจำหน่ายข้าว
3) โครงการสนับสนุนต้นทุนการผลิตให้เกษตรกรผู้ปลูกข้าวนาปี ปีการผลิต 2562/63
มติที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2562 เห็นชอบในหลักการโครงการสนับสนุนต้นทุนการผลิตให้เกษตรกรผู้ปลูกข้าวนาปี ปีการผลิต 2562/63 ภายในกรอบวงเงินงบประมาณ 25,482.06 ล้านบาท เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนให้แก่เกษตรกร และช่วยลดต้นทุนการผลิต โดยดำเนินการในพื้นที่เพาะปลูกข้าวทั่วประเทศ ดังนี้
3.1) กลุ่มเป้าหมาย เป็นเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกข้าวนาปี ปีการผลิต 2562/63 (รอบที่ 1) ประมาณ 4.31 ล้านครัวเรือน โดยจะได้รับเงินช่วยเหลือไร่ละ 500 บาท ครัวเรือนละไม่เกิน 20 ไร่
3.2) ระยะเวลาจ่ายเงินสนับสนุน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม – 31 ธันวาคม 2562 ยกเว้นภาคใต้ ตั้งแต่ 1 สิงหาคม – 30 เมษายน 2563
4) โครงการช่วยเหลือค่าเก็บเกี่ยวและปรับปรุงคุณภาพข้าว ปีการผลิต 2562/63
มติที่ประชุม คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2562 เห็นชอบโครงการช่วยเหลือค่าเก็บเกี่ยวและปรับปรุงคุณภาพข้าว ปีการผลิต 2562/63 จำนวน 26,458.89 ล้านบาท เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนให้เกษตรกรสามารถดำรงชีพอยู่ได้ และลดภาระค่าใช้จ่ายในการเก็บเกี่ยวข้าวและปรับปรุงคุณภาพข้าวให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มมากขึ้น รวมถึง
เพิ่มขีดความสามารถในการประกอบอาชีพและยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกร
4.1) กลุ่มเป้าหมาย เกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกข้าวปี 2562 กับกรมส่งเสริมการเกษตร (กสก.) จำนวนประมาณ 4.57 ล้านครัวเรือน โดยจะได้รับเงินช่วยเหลือค่าเก็บเกี่ยวและปรับปรุงคุณภาพข้าวเฉพาะเกษตรกรรายย่อย อัตราไร่ละ 500 บาท ครัวเรือนละไม่เกิน 20 ไร่ หรือครัวเรือนละไม่เกิน 10,000 บาท โดยพื้นที่เพาะปลูกที่ได้รับการช่วยเหลือต้องไม่ซ้ำซ้อนกับพื้นที่ที่ได้รับความเสียหายจากภัยธรรมชาติที่ได้รับเงินช่วยเหลือจากโครงการเยียวยาผู้ประสบภัยธรรมชาติจากรัฐบาลแล้ว เว้นแต่เกษตรกรจะนำพื้นที่ประสบภัยนั้นไปแจ้ง กสก. เพื่อเพาะปลูกข้าวใหม่ทันในช่วงเวลาเพาะปลูกรอบที่ 1
4.2) ระยะเวลาโครงการ ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2562 - 30 กันยายน 2563
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 13,675 บาท ราคาลดลงจากตันละ 13,812 บาท
เมื่อเทียบกับสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.99
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 7,880 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 7,744 บาท
เมื่อเทียบกับสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.75
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 31,950 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ข้าวขาว5% (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 12,410 บาท ราคาลดลงจากตันละ 12,450 บาท เมื่อเทียบกับสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.32
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้ ไม่มีรายงานราคา
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้ ไม่มีรายงานราคา
ข้าวขาว 25% สัปดาห์นี้ ไม่มีรายงานราคา
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้ ไม่มีรายงานราคา
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 30.8420
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
ไทย: พิษแล้งข้าวเปลือกแพง 10%
นายสมเกียรติ กิมาวหา ผู้ช่วยผู้จัดการธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) เปิดเผยว่าศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรม ธ.ก.ส. คาดการณ์ราคาสินค้าเกษตรเดือนกุมภาพันธ์ 2563 มีแนวโน้มปรับเพิ่มขึ้น ได้แก่ ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% อยู่ที่ 7,764 – 8,466 บาท ต่อตัน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนร้อยละ 0.52 – 9.61 เนื่องจากภัยแล้งทำให้ผลผลิตข้าวนาปรังทั้งปีลดลงร้อยละ 32.86 เหลือ 4.814 ล้านตันข้าวเปลือก ส่วนข้าวเปลือกหอมมะลิ 13,790 – 13,939 บาทต่อตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.09 – 1.18 เนื่องจากพ้นช่วงฤดูเก็บเกี่ยว และมีการสต็อกเพิ่มเพื่อรับฤดูแล้ง และข้าวเปลือกเหนียวเมล็ดยาวราคา 14,269 – 14,705 บาทต่อตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.87 – 3.96 เพราะผลผลิตออกมาไม่พอต่อการบริโภค ส่วนยางพาราแผ่นดิบราคาอยู่ที่ 39.36 – 39.45 บาทต่อกิโลกรัม เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.37 – 1.57
หลังภาครัฐมีนโยบายนำยางพาราไปทำถนน ผลิตหมอน ถุงมือ และรองเท้า สำหรับปาล์มน้ำมันราคาอยู่ที่ 6.80 – 7.00 บาทต่อกิโลกรัม เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.76 – 7.36 หลังภาครัฐส่งเสริมใช้ไบโอดีเซลเพิ่ม และสุกรราคาอยู่ที่ 69 – 75 บาทต่อกิโลกรัม เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.69 – 11.62 เนื่องจากภัยแล้งทำให้สุกรโตช้า อีกทั้งมีการส่งออกไปประเทศเพื่อนบ้านที่ขาดแคลนสุกรจากการเกิดโรคอหิวาต์แอฟริการะบาด
ส่วนสินค้าเกษตรที่แนวโน้มราคาลดลง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ความชื้นไม่เกิน 14.5% ราคา 7.70 – 7.78 บาทต่อกิโลกรัม ลดลงจากเดือนก่อนร้อยละ 0.50 – 1.50 หลังภัยแล้งส่งผลให้คุณภาพข้าวโพดลดลง และโรงงานอาหารสัตว์นำเข้าวัตถุดิบอื่นมาใช้ทดแทนข้าวโพด น้ำตาลทรายดิบตลาดนิวยอร์กราคาอยู่ที่ 9.78 – 9.83 บาทต่อกิโลกรัม ลดลงจากเดือน
ที่ผ่านมาร้อยละ 1.00 – 1.50 หลังราคาน้ำมันดิบลดลง บราซิลผู้ผลิตน้ำมันรายใหญ่จึงลดสัดส่วนการนำอ้อยไปผลิตเป็นเอทานอล
ด้านมันสำปะหลังราคา 1.90 – 1.95 บาทต่อกิโลกรัม ลดลงร้อยละ 0.51 – 3.06 เนื่องจากอยู่ในช่วงผลผลิตออกมาก การส่งออกไปจีนลดลงหลังได้รับผลกระทบจากไวรัสโคโรนา และกุ้งขาวแวนนาไมขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม ราคาอยู่ที่ 140 – 147 บาทต่อกิโลกรัม ลดลงร้อยละ 0.65 - 5.40 ผลผลิตกุ้งทั่วโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น และค่าเงินบาทที่แข็งค่าทำให้กุ้งไทยส่งออกลดลง
ที่มา: หนังสือพิมพ์เดลินิวส์
ไทย: รัฐวางเกณฑ์ขายข้าวจีทูจีป้องกันทุจริตทุกขั้นตอน
คณะรัฐมนตรี (ครม.) ไฟเขียวเกณฑ์ขายข้าวแบบจีทูจีตามที่ คณะกรรมการและบริหารข้าวแห่งชาติ (นบข.) และ ป.ป.ช เสนอ เพื่อป้องกันการทุจริตทุกขั้นตอน ตั้งแต่การเสนอราคาจนถึงการส่งมอบข้าว วางแนวทางการใช้หลักการทางการเงินเปิดแอล/ซีกับต่างประเทศ และมีหลักฐานการส่งออกข้าวจากกระทรวงพาณิชย์ที่ชัดเจน
น.ส.รัชดา ธนาดิเรก รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า ครม.มีมติรับทราบแนวทางปฏิบัติการเจรจาและการทำสัญญาซื้อขายข้าวแบบรัฐต่อรัฐหรือจีทูจี เพื่อเป็นแนวทางให้การทำสัญญาซื้อขายข้าวแบบรัฐต่อรัฐมีความน่าเชื่อถือ และโปร่งใสมากขึ้นหรือแก้ไขปัญหาจีทูจีปลอม ขณะเดียวกันยังดำเนินการได้อย่างเหมาะสมสอดคล้องกับการค้าข้าวของประเทศในปัจจุบัน ตามที่ นบข.เสนอ
นบข. รายงานว่า การขายข้าวแบบรัฐต่อรัฐสามารถดำเนินการได้อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับการค้าข้าวของประเทศในปัจจุบัน มีความจำเป็นต้องเพิ่มเติมรายละเอียดแนวทางปฏิบัติในการเจรจา และทำสัญญาซื้อขายข้าวแบบ
รัฐต่อรัฐให้มีความชัดเจนและเป็นไปตามกฎระเบียบกระทรวงพาณิชย์ที่เกี่ยวข้อง
โดยมีหลักการสำคัญในการเจรจาและทำสัญญาซื้อขายข้าวแบบจีทูจี คือ กำหนดให้การเจรจาและทำสัญญารัฐบาลของประเทศคู่เจรจาและทำสัญญาซื้อขายข้าวกับรัฐบาลไทย จะต้องเป็นหน่วยงานรัฐบาลหรือผู้แทนที่ได้รับมอบหมายเป็นลายลักษณ์อักษรให้ดำเนินการแทนรัฐบาลเท่านั้น เว้นแต่หน่วยงานผู้แทนรัฐบาลของประเทศผู้ซื้อ
บางประเทศที่มีหน่วยงานที่ทำหน้าที่ในการเจรจา และทำสัญญาซื้อขายข้าวเพียงหน่วยงานเดียว โดยไม่เคยเปลี่ยนแปลง
มาเป็นเวลาช้านาน ซึ่งในวงการค้าข้าวทั้งในประและต่างประเทศจะทราบดีว่าคือหน่วยงานใด
รองโฆษกรัฐบาลกล่าวอีกว่า กรณีหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายของรัฐบาลประเทศผู้ซื้อเป็นหน่วยงานนอกเหนือจากหน่วยงานดังกล่าวข้างต้นหรือหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายของรัฐบาลประเทศผู้ซื้อ ไม่เคยซื้อขายข้าวแบบจีทูจีกับรัฐบาลไทยมาก่อน มีหนังสือแจ้งความประสงค์ขอซื้อข้าวแบบจีทูจีจากรัฐบาลไทย กรมการค้าต่างประเทศจะต้องประสานสอบถามกระทรวงการต่างประเทศเพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริงในเรื่องดังกล่าวด้วย
ในส่วนของการชำระเงิน ต้องเป็นการชำระเงินระหว่างประเทศ เช่น การเปิด Letter of Credit (L/C) และ
การโอนเงินระหว่างประเทศ (Telegraphic Transfer: T/T) เป็นต้น ซึ่งจะต้องสามารถตรวจสอบที่มาของเงินดังกล่าวได้ โดยมีเอกสารหลักฐานจากธนาคารทั้งของไทยและธนาคารที่เป็นประเทศคู่ค้าเพื่อใช้ในการทำธุรกรรมทางการเงินดังกล่าว ขณะที่การส่งมอบข้าว รัฐบาลไทยจะต้องส่งข้าวออกไปจากประเทศไทยจริง ซึ่งมีหลักฐานที่สำคัญคือใบอนุญาตให้ส่งสินค้าออกไปนอกราชอาณาจักร อ.2 (สินค้าข้าว) ที่ออกโดยกรมการค้าต่างประเทศโดยตรง หรือมีหนังสือผ่านทางกระทรวงการต่างประเทศ หรือช่องทางการทูต ซึ่งกรมการค้าต่างประเทศสามารถประสานสอบถามกระทรวงการต่างประเทศเพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริงได้อีกทางหนึ่ง
เมื่อกรมการค้าต่างประเทศได้รับเรื่องดังกล่าวแล้ว จะประสานสอบถามรายละเอียด อาทิ ชนิดข้าว ปริมาณ และเงื่อนไขการส่งมอบ เป็นต้น กับหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายของรัฐบาลประเทศผู้ซื้อเบื้องต้นก่อน และจะเสนอเรื่องให้ผู้มีอำนาจตัดสินใจ พิจารณาให้ความเห็นชอบกรอบการเจรจาหรือกรอบการเสนอราคาประมูลขายข้าวก่อนดำเนินการต่อไป
สำหรับการเจรจาซื้อขายข้าว รัฐบาลทั้งสองฝ่ายจะเจรจาภายใต้กรอบที่ไดรับความเห็นชอบ จนกระทั้งสามารถตกลงราคาและรายละเอียดเงื่อนไขต่างๆ ในร่างสัญญาได้แล้ว ซึ่งข้อกำหนดหลักในสัญญาประกอบด้วย ชนิดข้าว คุณลักษณะข้าว ปริมาณ ราคา เงื่อนไขการส่งมอบ กำหนดส่งมอบ การชำระเงิน ข้อกำหนดเกี่ยวกับกระสอบบรรจุข้าว การตรวจสอบคุณภาพข้าว การระงับข้อพิพาทและกฎหมายที่บังคับใช้ เป็นต้น
หลังจากนั้น กรมการค้าต่างประเทศจะต้องเสนอร่างสัญญาซื้อขายข้าวแบบจีทูจีดังกล่าว ให้สำนักงานอัยการสูงสุดตรวจพิจารณาก่อนลงนามต่อไป
สำหรับการขายข้าวโดยวิธีการเข้าร่วมประมูลเสนอราคา รายละเอียดเงื่อนไขต่างๆ ในสัญญาจะเป็นไปตามข้อกำหนดการประมูล (Terms of Reference –TOR) ของหน่วยงานผู้แทนรัฐบาลของประเทศผู้ซื้อและกรมการค้าต่างประเทศจะเสนอผลการเจรจาหรือผลการประมูลเสนอราคาขายข้าวให้ผู้มีอำนาจตัดสินใจพิจารณาให้ความเหมาะสม โดยไม่ขัดต่อข้อกำหนดในสัญญา และไม่กระทบต่อความสัมพันธ์กับประเทศผู้ซื้อ
น.ส.รัชดา กล่าวอีกว่า นอกจากนี้ที่ประชุม ครม. ได้เห็นชอบในแนวทาง 6 ข้อสำคัญ ที่เป็นแนวทางปฏิบัติ
ในการเจรจาและการทำสัญญาซื้อขายข้าวแบบรัฐต่อรัฐมีรายละเอียดโดยสรุป ได้แก่ 1. เห็นชอบแนวทางปฏิบัติในการเจรจาและการทำสัญญาซื้อขายข้าวแบบรัฐต่อรัฐ ตามที่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) เสนอเรื่อง “มาตรการป้องกันการทุจริต กรณีการค้าระหว่างประเทศแบบรัฐต่อรัฐจากโครงการรับจำนำข้าว และการระบายข้าวแบบรัฐต่อรัฐ” 2. มอบหมายอธิบดีกรมการค้าต่างประเทศเป็นผู้เจรจาหรือเข้าร่วมการประมูลแบบจีทูจี และลงนามทำสัญญาซื้อขายข้าวในนามรัฐบาลไทย ตามแนวทางปฏิบัติฯ 3. มอบหมายกรมการค้าต่างประเทศร่วมมือกับสมาคม
ผู้ส่งออกข้าวไทย เพื่อปรับปรุงหรือจัดหาข้าวส่งมอบให้แก่รัฐบาลประเทศผู้ซื้อ ตามสัญญาจีทูจี แบ่งเป็นกรณีรัฐบาลมีข้าวในสต็อกชนิดที่ตรงกับความต้องการของผู้ซื้อ ให้สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทยใช้ในสต็อกของรัฐบาลปรับปรุงและส่งมอบข้าวตามสัญญา หากข้าวในสต็อกของรัฐไม่เพียงพอให้สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย จัดหาข้าวเพิ่มเติมและส่งมอบข้าวตามสัญญา
ส่วนกรณีรัฐบาลไม่มีข้าวในสต็อกชนิดที่เป็นความต้องการของผู้ซื้อ ให้สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทยจัดหาและส่งมอบข้าวตามสัญญา ทั้งนี้ให้เป็นไปตามแนวทางและเงื่อนไขที่ นบข. หรือผู้ที่ นบข. มอบหมายได้ ให้ความเห็นชอบและให้กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ทำข้อตกลงความร่วมมือกับสมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย ตามแบบข้อตกลงที่ผ่านการพิจารณาจากสำนักงานอัยการสูงสุดแล้ว เพื่อส่งมอบข้าวตามสัญญาจีทูจี 4. มอบหมายอธิบดีกรมการค้าต่างประเทศนำเสนอปลัดกระทรวงพาณิชย์ในฐานะกรรมการและเลขานุการ นบข. เพื่อนำเสนอนายกรัฐมนตรี ในฐานะประธานการเสนอขาย การเจรจาต่อรองราคา การตกลงเงื่อนไขในสัญญา รวมทั้งแนวทางจัดหาข้าวส่งมอบให้แก่รัฐบาลประเทศผู้ซื้อก่อนดำเนินการ
“ในการเจรจาตกลงราคาและส่งมอบข้าวให้ COFCO Corporation (COFCO) หรือคอฟโกรัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนจีนปริมาณ 3 แสนตัน ที่เหลือภายใต้สัญญาซื้อขายข้าวแบบจีทูจี ระหว่างกรมการค้าต่างประเทศ COFCO ให้ดำเนินการตามหลักเกณฑ์จีทูจีที่ ครม. ได้มีการอนุมัติด้วย” รองโฆษกรัฐบาลระบุ
ที่มา: หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ
กราฟราคาที่เกษตรกรขายได้ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% และราคาขายส่งตลาด กทม. ข้าวสารเจ้า 5%
1.1 มาตรการสินค้าข้าว
1) แผนการผลิตและการตลาดข้าวครบวงจร ปีการผลิต 2562/63
มติที่ประชุม คณะกรรมการนโยบายและบริหารจัดการข้าว (นบข.) ครั้งที่ 1/2562 เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2562เห็นชอบแผนการผลิตและการตลาดข้าวครบวงจร ปีการผลิต 2562/63และมติที่ประชุม นบข.ครั้งที่ 2/2562 เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2562 เห็นชอบในหลักการตามแผนการผลิตและการตลาดข้าวครบวงจร ปีการผลิต 2562/63 ตามมติ
ที่ประชุมคณะอนุกรรมการกำกับติดตามแผนการผลิตและการตลาดข้าวครบวงจร เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2562
การดำเนินงานประกอบด้วย 5 ช่วง ดังนี้
ช่วงที่ 1 การกำหนดอุปสงค์ อุปทานข้าว ได้กำหนดอุปสงค์ 32.48 ล้านตันข้าวเปลือกอุปทาน 34.16 ล้านตันข้าวเปลือก
ช่วงที่ 2 ช่วงการผลิตข้าว ได้แก่
1.1) การกำหนดพื้นที่เป้าหมายส่งเสริมการปลูกข้าว เป้าหมายรอบที่ 1 จำนวน 58.99 ล้านไร่
โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ประกาศพื้นที่เป้าหมายส่งเสริมการปลูกข้าวแล้ว เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2562 และรอบที่ 2จำนวน 13.81 ล้านไร่
1.2) การขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกข้าว เป้าหมาย รอบที่ 1 จำนวน 4.00 ล้านครัวเรือน และ รอบที่ 2 จำนวน 0.30 ล้านครัวเรือน
1.3) การจัดการปัจจัยการผลิต ได้แก่ โครงการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ดี และควบคุมค่าเช่าที่นา
1.4) การปรับปรุงพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ได้แก่ การจัดรูปที่ดินและปรับระดับพื้นที่นา
1.5) การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าว ได้แก่ (1) โครงการระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ (นาแปลงใหญ่) (2) โครงการส่งเสริมการผลิตและการตลาดข้าวพันธุ์ กข43 (3) โครงการส่งเสริมระบบเกษตรแบบแม่นยำสูง (4) โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพชั้นเลิศ (5) โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวอินทรีย์ (6) โครงการรักษาระดับปริมาณการผลิตและคุณภาพข้าวหอมมะลิ (7) โครงการปรับเปลี่ยนระบบการผลิตข้าวในพื้นที่ลุ่มต่ำ 13 ทุ่ง (8) โครงการปรับเปลี่ยนพื้นที่ไม่เหมาะสมกับการปลูกข้าวไปเป็นพืชอื่น (Zoning by Agri-Map) (9) โครงการส่งเสริมการปลูกพืชหลากหลาย
(10) โครงการปลูกพืชปุ๋ยสด และ (11) โครงการประกันภัยพืชผล
ช่วงที่ 3 ช่วงการเก็บเกี่ยวและหลังเก็บเกี่ยว ได้แก่ (1) โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ
รถเกี่ยวนวดข้าว และ (2) โครงการยกระดับมาตรฐานโรงสี กลุ่มเกษตรกรและวิสาหกิจชุมชน เพื่อเพิ่มศักยภาพการเชื่อมโยงตลาดข้าวนาแปลงใหญ่
ช่วงที่ 4 ช่วงการตลาดในประเทศได้แก่ (1) โครงการเชื่อมโยงตลาดข้าวอินทรีย์และข้าว GAP ครบวงจร
(2) โครงการรณรงค์บริโภคข้าวและผลิตภัณฑ์ข้าวของไทยทั้งตลาดในประเทศ และต่างประเทศ พ.ศ. 2563-2565
(3) โครงการประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมและสร้างการรับรู้ถึงคุณประโยชน์ของการบริโภคผลผลิตภัณฑ์น้ำนมข้าว
(4) โครงการรณรงค์บริโภคข้าวสาร Q และข้าวพันธุ์ กข43 ปีการผลิต 2561/62 (5) โครงการช่วยเหลือค่าเก็บเกี่ยว
และปรับปรุงคุณภาพข้าว (6) โครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร (7) โครงการชดเชยดอกเบี้ยให้ผู้ประกอบการในการเก็บสต็อก และ (8) โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือก
ช่วงที่ 5 ช่วงการตลาดต่างประเทศได้แก่ (1) การจัดหาและเชื่อมโยงตลาดต่างประเทศ (2) การส่งเสริมภาพลักษณ์และประชาสัมพันธ์ข้าว ผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรมข้าว (3) การส่งเสริมพัฒนาการค้าสินค้ามาตรฐานและปกป้องคุ้มครองเครื่องหมายการค้า/เครื่องหมายรับรองข้าวหอมมะลิไทย และ (4) การประชาสัมพันธ์การบริโภคข้าวและผลิตภัณฑ์ของไทยทั้งตลาดในประเทศและต่างประเทศ
2) โครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าว ปี 2562/63 รอบที่ 1
มติที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2562 เห็นชอบในหลักการโครงการประกันรายได้เกษตรกร
ผู้ปลูกข้าว ปี 2562/63 รอบที่ 1 ภายในกรอบวงเงินงบประมาณ 21,495.74 ล้านบาท เพื่อป้องกันความเสี่ยงด้านราคาไม่ให้ประสบปัญหาขาดทุน ลดภาระค่าใช้จ่ายของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาราคาข้าว และให้กลไกตลาดทำงานเป็นปกติ โดยดำเนินการในพื้นที่เพาะปลูกข้าวทั่วประเทศ ดังนี้
2.1) ชนิดข้าว ราคา และปริมาณประกันรายได้ (ณ ราคาความชื้นไม่เกิน 15%) โดยชดเชยเป็นจำนวนตันในแต่ละชนิดข้าว ดังนี้
ชนิดข้าว | ราคาประกันรายได้ | ครัวเรือนละไม่เกิน |
(บาท/ตัน) | (ตัน) | |
ข้าวเปลือกหอมมะลิ | 15,000 | 14 |
ข้าวเปลือกหอมมะลินอกพื้นที่ | 14,000 | 16 |
ข้าวเปลือกเจ้า | 10,000 | 30 |
ข้าวเปลือกหอมปทุมธานี | 11,000 | 25 |
ข้าวเปลือกเหนียว | 12,000 | 16 |
2.2) เกษตรกรผู้มีสิทธิได้รับการชดเชย เป็นเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนผู้ปลูกข้าวนาปี ปีการผลิต 2562/63 (รอบที่ 1) กับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่ปลูกข้าวระหว่างวันที่ 1 เมษายน - 31 ตุลาคม 2562 ยกเว้นภาคใต้ ระหว่างวันที่ 16 มิถุนายน 2562 - 28 กุมภาพันธ์ 2563
2.3) ระยะเวลาที่ใช้สิทธิขอชดเชย เกษตรกรสามารถใช้สิทธิระหว่างวันที่ 15 ตุลาคม 2562 -
28 กุมภาพันธ์ 2563 ยกเว้นภาคใต้ตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ - 31 พฤษภาคม 2563 โดยสามารถใช้สิทธิได้ตั้งแต่
วันที่เก็บเกี่ยวเป็นต้นไป ยกเว้นเกษตรกรที่เก็บเกี่ยวก่อนวันที่กำหนดให้ใช้สิทธิได้ตั้งแต่วันเริ่มโครงการ
2.4) การประกาศราคาเกณฑ์กลางอ้างอิง คณะอนุกรรมการกำกับดูแลและกำหนดเกณฑ์กลางอ้างอิงโครงการฯ ได้ประกาศราคาอ้างอิง งวดที่ 1 - 4 ทุก 15 วัน โดยจ่ายเงินครั้งแรก ในวันที่ 15 ตุลาคม 2562 สำหรับเกษตรกรได้รับสิทธิตั้งแต่วันที่เก็บเกี่ยว - 15 ตุลาคม 2562 สำหรับงวดที่ 5 เป็นต้นไป ได้ปรับการประกาศใหม่เป็นทุกวันศุกร์
(ทุก 7 วัน) เพื่อให้ราคาเกณฑ์กลางอ้างอิงมีความสอดคล้องกับข้อเท็จจริงในช่วงที่เกษตรกรเก็บเกี่ยวและจำหน่ายข้าว
3) โครงการสนับสนุนต้นทุนการผลิตให้เกษตรกรผู้ปลูกข้าวนาปี ปีการผลิต 2562/63
มติที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2562 เห็นชอบในหลักการโครงการสนับสนุนต้นทุนการผลิตให้เกษตรกรผู้ปลูกข้าวนาปี ปีการผลิต 2562/63 ภายในกรอบวงเงินงบประมาณ 25,482.06 ล้านบาท เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนให้แก่เกษตรกร และช่วยลดต้นทุนการผลิต โดยดำเนินการในพื้นที่เพาะปลูกข้าวทั่วประเทศ ดังนี้
3.1) กลุ่มเป้าหมาย เป็นเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกข้าวนาปี ปีการผลิต 2562/63 (รอบที่ 1) ประมาณ 4.31 ล้านครัวเรือน โดยจะได้รับเงินช่วยเหลือไร่ละ 500 บาท ครัวเรือนละไม่เกิน 20 ไร่
3.2) ระยะเวลาจ่ายเงินสนับสนุน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม – 31 ธันวาคม 2562 ยกเว้นภาคใต้ ตั้งแต่ 1 สิงหาคม – 30 เมษายน 2563
4) โครงการช่วยเหลือค่าเก็บเกี่ยวและปรับปรุงคุณภาพข้าว ปีการผลิต 2562/63
มติที่ประชุม คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2562 เห็นชอบโครงการช่วยเหลือค่าเก็บเกี่ยวและปรับปรุงคุณภาพข้าว ปีการผลิต 2562/63 จำนวน 26,458.89 ล้านบาท เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนให้เกษตรกรสามารถดำรงชีพอยู่ได้ และลดภาระค่าใช้จ่ายในการเก็บเกี่ยวข้าวและปรับปรุงคุณภาพข้าวให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มมากขึ้น รวมถึง
เพิ่มขีดความสามารถในการประกอบอาชีพและยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกร
4.1) กลุ่มเป้าหมาย เกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกข้าวปี 2562 กับกรมส่งเสริมการเกษตร (กสก.) จำนวนประมาณ 4.57 ล้านครัวเรือน โดยจะได้รับเงินช่วยเหลือค่าเก็บเกี่ยวและปรับปรุงคุณภาพข้าวเฉพาะเกษตรกรรายย่อย อัตราไร่ละ 500 บาท ครัวเรือนละไม่เกิน 20 ไร่ หรือครัวเรือนละไม่เกิน 10,000 บาท โดยพื้นที่เพาะปลูกที่ได้รับการช่วยเหลือต้องไม่ซ้ำซ้อนกับพื้นที่ที่ได้รับความเสียหายจากภัยธรรมชาติที่ได้รับเงินช่วยเหลือจากโครงการเยียวยาผู้ประสบภัยธรรมชาติจากรัฐบาลแล้ว เว้นแต่เกษตรกรจะนำพื้นที่ประสบภัยนั้นไปแจ้ง กสก. เพื่อเพาะปลูกข้าวใหม่ทันในช่วงเวลาเพาะปลูกรอบที่ 1
4.2) ระยะเวลาโครงการ ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2562 - 30 กันยายน 2563
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 13,675 บาท ราคาลดลงจากตันละ 13,812 บาท
เมื่อเทียบกับสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.99
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 7,880 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 7,744 บาท
เมื่อเทียบกับสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.75
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 31,950 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ข้าวขาว5% (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 12,410 บาท ราคาลดลงจากตันละ 12,450 บาท เมื่อเทียบกับสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.32
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้ ไม่มีรายงานราคา
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้ ไม่มีรายงานราคา
ข้าวขาว 25% สัปดาห์นี้ ไม่มีรายงานราคา
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้ ไม่มีรายงานราคา
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 30.8420
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
ไทย: พิษแล้งข้าวเปลือกแพง 10%
นายสมเกียรติ กิมาวหา ผู้ช่วยผู้จัดการธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) เปิดเผยว่าศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรม ธ.ก.ส. คาดการณ์ราคาสินค้าเกษตรเดือนกุมภาพันธ์ 2563 มีแนวโน้มปรับเพิ่มขึ้น ได้แก่ ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% อยู่ที่ 7,764 – 8,466 บาท ต่อตัน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนร้อยละ 0.52 – 9.61 เนื่องจากภัยแล้งทำให้ผลผลิตข้าวนาปรังทั้งปีลดลงร้อยละ 32.86 เหลือ 4.814 ล้านตันข้าวเปลือก ส่วนข้าวเปลือกหอมมะลิ 13,790 – 13,939 บาทต่อตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.09 – 1.18 เนื่องจากพ้นช่วงฤดูเก็บเกี่ยว และมีการสต็อกเพิ่มเพื่อรับฤดูแล้ง และข้าวเปลือกเหนียวเมล็ดยาวราคา 14,269 – 14,705 บาทต่อตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.87 – 3.96 เพราะผลผลิตออกมาไม่พอต่อการบริโภค ส่วนยางพาราแผ่นดิบราคาอยู่ที่ 39.36 – 39.45 บาทต่อกิโลกรัม เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.37 – 1.57
หลังภาครัฐมีนโยบายนำยางพาราไปทำถนน ผลิตหมอน ถุงมือ และรองเท้า สำหรับปาล์มน้ำมันราคาอยู่ที่ 6.80 – 7.00 บาทต่อกิโลกรัม เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.76 – 7.36 หลังภาครัฐส่งเสริมใช้ไบโอดีเซลเพิ่ม และสุกรราคาอยู่ที่ 69 – 75 บาทต่อกิโลกรัม เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.69 – 11.62 เนื่องจากภัยแล้งทำให้สุกรโตช้า อีกทั้งมีการส่งออกไปประเทศเพื่อนบ้านที่ขาดแคลนสุกรจากการเกิดโรคอหิวาต์แอฟริการะบาด
ส่วนสินค้าเกษตรที่แนวโน้มราคาลดลง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ความชื้นไม่เกิน 14.5% ราคา 7.70 – 7.78 บาทต่อกิโลกรัม ลดลงจากเดือนก่อนร้อยละ 0.50 – 1.50 หลังภัยแล้งส่งผลให้คุณภาพข้าวโพดลดลง และโรงงานอาหารสัตว์นำเข้าวัตถุดิบอื่นมาใช้ทดแทนข้าวโพด น้ำตาลทรายดิบตลาดนิวยอร์กราคาอยู่ที่ 9.78 – 9.83 บาทต่อกิโลกรัม ลดลงจากเดือน
ที่ผ่านมาร้อยละ 1.00 – 1.50 หลังราคาน้ำมันดิบลดลง บราซิลผู้ผลิตน้ำมันรายใหญ่จึงลดสัดส่วนการนำอ้อยไปผลิตเป็นเอทานอล
ด้านมันสำปะหลังราคา 1.90 – 1.95 บาทต่อกิโลกรัม ลดลงร้อยละ 0.51 – 3.06 เนื่องจากอยู่ในช่วงผลผลิตออกมาก การส่งออกไปจีนลดลงหลังได้รับผลกระทบจากไวรัสโคโรนา และกุ้งขาวแวนนาไมขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม ราคาอยู่ที่ 140 – 147 บาทต่อกิโลกรัม ลดลงร้อยละ 0.65 - 5.40 ผลผลิตกุ้งทั่วโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น และค่าเงินบาทที่แข็งค่าทำให้กุ้งไทยส่งออกลดลง
ที่มา: หนังสือพิมพ์เดลินิวส์
ไทย: รัฐวางเกณฑ์ขายข้าวจีทูจีป้องกันทุจริตทุกขั้นตอน
คณะรัฐมนตรี (ครม.) ไฟเขียวเกณฑ์ขายข้าวแบบจีทูจีตามที่ คณะกรรมการและบริหารข้าวแห่งชาติ (นบข.) และ ป.ป.ช เสนอ เพื่อป้องกันการทุจริตทุกขั้นตอน ตั้งแต่การเสนอราคาจนถึงการส่งมอบข้าว วางแนวทางการใช้หลักการทางการเงินเปิดแอล/ซีกับต่างประเทศ และมีหลักฐานการส่งออกข้าวจากกระทรวงพาณิชย์ที่ชัดเจน
น.ส.รัชดา ธนาดิเรก รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า ครม.มีมติรับทราบแนวทางปฏิบัติการเจรจาและการทำสัญญาซื้อขายข้าวแบบรัฐต่อรัฐหรือจีทูจี เพื่อเป็นแนวทางให้การทำสัญญาซื้อขายข้าวแบบรัฐต่อรัฐมีความน่าเชื่อถือ และโปร่งใสมากขึ้นหรือแก้ไขปัญหาจีทูจีปลอม ขณะเดียวกันยังดำเนินการได้อย่างเหมาะสมสอดคล้องกับการค้าข้าวของประเทศในปัจจุบัน ตามที่ นบข.เสนอ
นบข. รายงานว่า การขายข้าวแบบรัฐต่อรัฐสามารถดำเนินการได้อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับการค้าข้าวของประเทศในปัจจุบัน มีความจำเป็นต้องเพิ่มเติมรายละเอียดแนวทางปฏิบัติในการเจรจา และทำสัญญาซื้อขายข้าวแบบ
รัฐต่อรัฐให้มีความชัดเจนและเป็นไปตามกฎระเบียบกระทรวงพาณิชย์ที่เกี่ยวข้อง
โดยมีหลักการสำคัญในการเจรจาและทำสัญญาซื้อขายข้าวแบบจีทูจี คือ กำหนดให้การเจรจาและทำสัญญารัฐบาลของประเทศคู่เจรจาและทำสัญญาซื้อขายข้าวกับรัฐบาลไทย จะต้องเป็นหน่วยงานรัฐบาลหรือผู้แทนที่ได้รับมอบหมายเป็นลายลักษณ์อักษรให้ดำเนินการแทนรัฐบาลเท่านั้น เว้นแต่หน่วยงานผู้แทนรัฐบาลของประเทศผู้ซื้อ
บางประเทศที่มีหน่วยงานที่ทำหน้าที่ในการเจรจา และทำสัญญาซื้อขายข้าวเพียงหน่วยงานเดียว โดยไม่เคยเปลี่ยนแปลง
มาเป็นเวลาช้านาน ซึ่งในวงการค้าข้าวทั้งในประและต่างประเทศจะทราบดีว่าคือหน่วยงานใด
รองโฆษกรัฐบาลกล่าวอีกว่า กรณีหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายของรัฐบาลประเทศผู้ซื้อเป็นหน่วยงานนอกเหนือจากหน่วยงานดังกล่าวข้างต้นหรือหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายของรัฐบาลประเทศผู้ซื้อ ไม่เคยซื้อขายข้าวแบบจีทูจีกับรัฐบาลไทยมาก่อน มีหนังสือแจ้งความประสงค์ขอซื้อข้าวแบบจีทูจีจากรัฐบาลไทย กรมการค้าต่างประเทศจะต้องประสานสอบถามกระทรวงการต่างประเทศเพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริงในเรื่องดังกล่าวด้วย
ในส่วนของการชำระเงิน ต้องเป็นการชำระเงินระหว่างประเทศ เช่น การเปิด Letter of Credit (L/C) และ
การโอนเงินระหว่างประเทศ (Telegraphic Transfer: T/T) เป็นต้น ซึ่งจะต้องสามารถตรวจสอบที่มาของเงินดังกล่าวได้ โดยมีเอกสารหลักฐานจากธนาคารทั้งของไทยและธนาคารที่เป็นประเทศคู่ค้าเพื่อใช้ในการทำธุรกรรมทางการเงินดังกล่าว ขณะที่การส่งมอบข้าว รัฐบาลไทยจะต้องส่งข้าวออกไปจากประเทศไทยจริง ซึ่งมีหลักฐานที่สำคัญคือใบอนุญาตให้ส่งสินค้าออกไปนอกราชอาณาจักร อ.2 (สินค้าข้าว) ที่ออกโดยกรมการค้าต่างประเทศโดยตรง หรือมีหนังสือผ่านทางกระทรวงการต่างประเทศ หรือช่องทางการทูต ซึ่งกรมการค้าต่างประเทศสามารถประสานสอบถามกระทรวงการต่างประเทศเพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริงได้อีกทางหนึ่ง
เมื่อกรมการค้าต่างประเทศได้รับเรื่องดังกล่าวแล้ว จะประสานสอบถามรายละเอียด อาทิ ชนิดข้าว ปริมาณ และเงื่อนไขการส่งมอบ เป็นต้น กับหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายของรัฐบาลประเทศผู้ซื้อเบื้องต้นก่อน และจะเสนอเรื่องให้ผู้มีอำนาจตัดสินใจ พิจารณาให้ความเห็นชอบกรอบการเจรจาหรือกรอบการเสนอราคาประมูลขายข้าวก่อนดำเนินการต่อไป
สำหรับการเจรจาซื้อขายข้าว รัฐบาลทั้งสองฝ่ายจะเจรจาภายใต้กรอบที่ไดรับความเห็นชอบ จนกระทั้งสามารถตกลงราคาและรายละเอียดเงื่อนไขต่างๆ ในร่างสัญญาได้แล้ว ซึ่งข้อกำหนดหลักในสัญญาประกอบด้วย ชนิดข้าว คุณลักษณะข้าว ปริมาณ ราคา เงื่อนไขการส่งมอบ กำหนดส่งมอบ การชำระเงิน ข้อกำหนดเกี่ยวกับกระสอบบรรจุข้าว การตรวจสอบคุณภาพข้าว การระงับข้อพิพาทและกฎหมายที่บังคับใช้ เป็นต้น
หลังจากนั้น กรมการค้าต่างประเทศจะต้องเสนอร่างสัญญาซื้อขายข้าวแบบจีทูจีดังกล่าว ให้สำนักงานอัยการสูงสุดตรวจพิจารณาก่อนลงนามต่อไป
สำหรับการขายข้าวโดยวิธีการเข้าร่วมประมูลเสนอราคา รายละเอียดเงื่อนไขต่างๆ ในสัญญาจะเป็นไปตามข้อกำหนดการประมูล (Terms of Reference –TOR) ของหน่วยงานผู้แทนรัฐบาลของประเทศผู้ซื้อและกรมการค้าต่างประเทศจะเสนอผลการเจรจาหรือผลการประมูลเสนอราคาขายข้าวให้ผู้มีอำนาจตัดสินใจพิจารณาให้ความเหมาะสม โดยไม่ขัดต่อข้อกำหนดในสัญญา และไม่กระทบต่อความสัมพันธ์กับประเทศผู้ซื้อ
น.ส.รัชดา กล่าวอีกว่า นอกจากนี้ที่ประชุม ครม. ได้เห็นชอบในแนวทาง 6 ข้อสำคัญ ที่เป็นแนวทางปฏิบัติ
ในการเจรจาและการทำสัญญาซื้อขายข้าวแบบรัฐต่อรัฐมีรายละเอียดโดยสรุป ได้แก่ 1. เห็นชอบแนวทางปฏิบัติในการเจรจาและการทำสัญญาซื้อขายข้าวแบบรัฐต่อรัฐ ตามที่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) เสนอเรื่อง “มาตรการป้องกันการทุจริต กรณีการค้าระหว่างประเทศแบบรัฐต่อรัฐจากโครงการรับจำนำข้าว และการระบายข้าวแบบรัฐต่อรัฐ” 2. มอบหมายอธิบดีกรมการค้าต่างประเทศเป็นผู้เจรจาหรือเข้าร่วมการประมูลแบบจีทูจี และลงนามทำสัญญาซื้อขายข้าวในนามรัฐบาลไทย ตามแนวทางปฏิบัติฯ 3. มอบหมายกรมการค้าต่างประเทศร่วมมือกับสมาคม
ผู้ส่งออกข้าวไทย เพื่อปรับปรุงหรือจัดหาข้าวส่งมอบให้แก่รัฐบาลประเทศผู้ซื้อ ตามสัญญาจีทูจี แบ่งเป็นกรณีรัฐบาลมีข้าวในสต็อกชนิดที่ตรงกับความต้องการของผู้ซื้อ ให้สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทยใช้ในสต็อกของรัฐบาลปรับปรุงและส่งมอบข้าวตามสัญญา หากข้าวในสต็อกของรัฐไม่เพียงพอให้สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย จัดหาข้าวเพิ่มเติมและส่งมอบข้าวตามสัญญา
ส่วนกรณีรัฐบาลไม่มีข้าวในสต็อกชนิดที่เป็นความต้องการของผู้ซื้อ ให้สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทยจัดหาและส่งมอบข้าวตามสัญญา ทั้งนี้ให้เป็นไปตามแนวทางและเงื่อนไขที่ นบข. หรือผู้ที่ นบข. มอบหมายได้ ให้ความเห็นชอบและให้กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ทำข้อตกลงความร่วมมือกับสมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย ตามแบบข้อตกลงที่ผ่านการพิจารณาจากสำนักงานอัยการสูงสุดแล้ว เพื่อส่งมอบข้าวตามสัญญาจีทูจี 4. มอบหมายอธิบดีกรมการค้าต่างประเทศนำเสนอปลัดกระทรวงพาณิชย์ในฐานะกรรมการและเลขานุการ นบข. เพื่อนำเสนอนายกรัฐมนตรี ในฐานะประธานการเสนอขาย การเจรจาต่อรองราคา การตกลงเงื่อนไขในสัญญา รวมทั้งแนวทางจัดหาข้าวส่งมอบให้แก่รัฐบาลประเทศผู้ซื้อก่อนดำเนินการ
“ในการเจรจาตกลงราคาและส่งมอบข้าวให้ COFCO Corporation (COFCO) หรือคอฟโกรัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนจีนปริมาณ 3 แสนตัน ที่เหลือภายใต้สัญญาซื้อขายข้าวแบบจีทูจี ระหว่างกรมการค้าต่างประเทศ COFCO ให้ดำเนินการตามหลักเกณฑ์จีทูจีที่ ครม. ได้มีการอนุมัติด้วย” รองโฆษกรัฐบาลระบุ
ที่มา: หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ
กราฟราคาที่เกษตรกรขายได้ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% และราคาขายส่งตลาด กทม. ข้าวสารเจ้า 5%
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดภายในประเทศในช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 7.76 บาทลดลงจากกิโลกรัมละ 7.81 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.64 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ ความชื้นเกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.04 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 6.24 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.21
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อสัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.49 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 8.53 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.47 และราคาขายส่งไซโลรับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.15 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 8.16 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.12
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 277.25 ดอลลาร์สหรัฐ (8,551 บาท/ตัน) เพิ่มขึ้นจากตันละ 210.50 ดอลลาร์สหรัฐ (6,444 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 31.71 และเพิ่มขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 2,107 บาท
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนมีนาคม 2563 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 380.36 เซนต์ (4,683 บาท/ตัน) ลดลงจากบุชเชลละ 383.52 เซนต์ (4,675 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.82 แต่เพิ่มขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 8 บาท
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลัง ปี 2563(เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 – กันยายน 2563) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.75 ล้านไร่ ผลผลิต 31.104 ล้านตัน ผลผลลิตต่อไร่ 3.56ตัน เมื่อเทียบกับปี 2562 ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.67 ล้านไร่ ผลผลิต 31.080 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3.59 ตัน พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยวและผลผลิต สูงขึ้นร้อยละ 0.93 และร้อยละ 0.08ตามลำดับ แต่ผลผลิตต่อไร่ลดลงร้อยละ 0.84 โดยเดือนมกราคม 2563คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด5.16ล้านตัน (ร้อยละ16.58ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2563 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2563 ปริมาณ 17.63ล้านตัน (ร้อยละ56.68ของผลผลิตทั้งหมด)
การตลาด
มันสำปะหลังออกสู่ตลาดเพิ่มขึ้นและส่วนใหญ่ไหลเข้าสู่โรงงานแป้งมันสำปะหลังเนื่องจากลานมันส่วนใหญ่ไม่ตากมันเส้น เพราะราคามันเส้นไม่คุ้มกับการดำเนินการ
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.92 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคามันเส้นสัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.15 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ5.10 บาท ในสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ0.98
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.95บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบณ คลังสินค้าเขต กรุงเทพและปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 12.59บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ12.61 บาทในสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ0.16
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้นสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 233ดอลลาร์สหรัฐฯ (7,186บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน (7,116บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ443ดอลลาร์สหรัฐฯ (13,663บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน (13,530บาทต่อตัน)
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2563 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนมกราคมจะมีประมาณ 1.325 ล้านตันคิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.239ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.080ล้านตันคิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.194ล้านตัน ของเดือนธันวาคม 2562 คิดเป็นร้อยละ22.69 และร้อยละ 23.20 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 5.93บาทลดลงจาก กก.ละ 6.85บาทในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 13.43
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกก.ละ33.55บาทลดลงจาก กก.ละ 36.40บาทในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 7.83
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
การตลาด
มาเลเซียคาดว่าจะขยายฐานตลาดไปปากีสถานหลังจากที่รัฐบาลของปากีสถานเห็นชอบการเพิ่มการนำเข้าจากมาเลเซีย โดยในปัจจุบันส่วนแบ่งการตลาดของมาเลเซียในปากีสถานอยู่ที่ร้อยละ 22 ปากีสถานมีประชากรประมาณ 200 ล้านคน และมีอัตราการเติบโตที่ร้อยละ 2.5 ต่อปี ซึ่งมาเลเซียมองว่าตลาดปากีสถานมีศักยภาพที่จะเติบโต
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ2,759.95ดอลลาร์มาเลเซีย (21.20บาท/กก.)สูงขึ้นจากตันละ2,685.55ดอลลาร์มาเลเซีย (20.58บาท/กก.)ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.77
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ773.00ดอลลาร์สหรัฐฯ(23.75บาท/กก.)ลดลงจากตันละ805.83ดอลลาร์สหรัฐฯ(24.95บาท/กก.)ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.07
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
ถั่วเหลือง
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 15.80 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์การผลิตถั่วเหลืองบราซิล
บราซิลคาดการณ์ว่า ปีการเพาะปลูก 2562/63 จะผลิตถั่วเหลืองได้ 124.01 ล้านตัน เพิ่มขึ้น 1.9% จากการประมาณการในเดือนมกราคม และเพิ่มขึ้น 8% เมื่อเทียบเป็นรายปี สำหรับการส่งออกถั่วเหลืองตามปีปฏิทินของปี 2563 คาดว่าจะอยู่ที่ประมาณ 72 ล้านตัน
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 877.96 เซนต์ (10.09 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 892.7 เซนต์ (10.16 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.65
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 288.98 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.04 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 296.3 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.17 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.47
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 30.70 เซนต์ (21.16 บาท/กก.) ลดลงจากปอนด์ละ 31.43 เซนต์ (21.45 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.32
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 15.80 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์การผลิตถั่วเหลืองบราซิล
บราซิลคาดการณ์ว่า ปีการเพาะปลูก 2562/63 จะผลิตถั่วเหลืองได้ 124.01 ล้านตัน เพิ่มขึ้น 1.9% จากการประมาณการในเดือนมกราคม และเพิ่มขึ้น 8% เมื่อเทียบเป็นรายปี สำหรับการส่งออกถั่วเหลืองตามปีปฏิทินของปี 2563 คาดว่าจะอยู่ที่ประมาณ 72 ล้านตัน
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 877.96 เซนต์ (10.09 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 892.7 เซนต์ (10.16 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.65
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 288.98 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.04 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 296.3 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.17 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.47
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 30.70 เซนต์ (21.16 บาท/กก.) ลดลงจากปอนด์ละ 31.43 เซนต์ (21.45 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.32
ยางพารา
สับปะรด
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละสัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 25.83 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ และถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.20 บาท ลดลงจากราคากิโลกรัมละ 32.00 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.50
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 19.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 41.20 บาท ลดลงจากราคากิโลกรัมละ 34.00 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 21.18
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,003.80 ดอลลาร์สหรัฐ (30.96 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 1,013.00 ดอลลาร์สหรัฐ (30.94 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.91 แต่เพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 906.20 ดอลลาร์สหรัฐ (27.95 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 914.50 ดอลลาร์สหรัฐ (27.93 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.91 แต่เพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,042.80 ดอลลาร์สหรัฐ (32.16 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 1,078.75 ดอลลาร์สหรัฐ (32.95 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.33 แต่เพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.04 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 651.20 ดอลลาร์สหรัฐ (19.90 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 651.25 ดอลลาร์สหรัฐ (19.89 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 6.05 แต่เพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,362.20 ดอลลาร์สหรัฐ (42.01 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 1,138.25 ดอลลาร์สหรัฐ (34.76 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 19.67 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 7.25 บาท
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 47.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 55.00 บาทของสัปดาห์ก่อนร้อย 13.64
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.57 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 33.39 บาทของสัปดาห์ก่อนร้อย 14.44
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 58.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 52.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 47.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 55.00 บาทของสัปดาห์ก่อนร้อย 13.64
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.57 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 33.39 บาทของสัปดาห์ก่อนร้อย 14.44
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 58.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 52.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ฝ้าย
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้
ราคาที่เกษตรกรขายได้
ราคาฝ้ายรวมเมล็ดชนิดคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาซื้อ-ขายล่วงหน้าตลาดนิวยอร์ก (New York Cotton Futures)
ราคาซื้อ-ขายล่วงหน้าตลาดนิวยอร์ก (New York Cotton Futures)
ราคาซื้อ-ขายล่วงหน้า เพื่อส่งมอบเดือนมีนาคม 2563 สัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 67.42 เซนต์(กิโลกรัมละ 46.48 บาท) ลดลงจากปอนด์ละ 69.68 เซนต์ (กิโลกรัมละ 47.56 บาท) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.24และลดลงในรูปของเงินบาทกิโลกรัมละ 1.08 บาท
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,792 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,719 บาทจากสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 4.25
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,462 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,393 บาทจากสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 4.95
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 783 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,462 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,393 บาทจากสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 4.95
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 783 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการบริโภคเนื้อสุกรยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่องทั้งบริโภคในประเทศ และผู้ประกอบการเลี้ยงสุกรบางส่วนได้ส่งออกสุกรสดแช่เย็นแช่แข็งและผลิตภัณฑ์สุกรได้เพิ่มมากขึ้น แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 72.06 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 70.68 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.95 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 68.66 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 64.49 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 75.73 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 71.66 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 2,600 บาท (บวกลบ 76 บาท) ลดลงจากตัวละ 2,700 (บวกลบ 78 บาท) ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 3.70
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 72.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 74.50 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 2.68
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการบริโภคเนื้อสุกรยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่องทั้งบริโภคในประเทศ และผู้ประกอบการเลี้ยงสุกรบางส่วนได้ส่งออกสุกรสดแช่เย็นแช่แข็งและผลิตภัณฑ์สุกรได้เพิ่มมากขึ้น แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 72.06 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 70.68 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.95 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 68.66 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 64.49 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 75.73 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 71.66 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 2,600 บาท (บวกลบ 76 บาท) ลดลงจากตัวละ 2,700 (บวกลบ 78 บาท) ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 3.70
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 72.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 74.50 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 2.68
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตไก่เนื้อออกสู่ตลาดใกล้เคียงความต้องการบริโภคค่อนข้างทรงตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 39.41 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 39.43 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.05 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 35.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 39.80 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 40.87 บาท และภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 15.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 46.00 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 48.25 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 4.66
ไข่ไก่
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตไก่เนื้อออกสู่ตลาดใกล้เคียงความต้องการบริโภคค่อนข้างทรงตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 39.41 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 39.43 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.05 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 35.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 39.80 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 40.87 บาท และภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 15.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 46.00 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 48.25 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 4.66
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้สถานการณ์ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตไข่ไก่สอดคล้องกับความต้องการบริโภค แนวโน้มคาดว่าสัปดาห์หน้าราคาจะทรงตัวหรือลดลงเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 275 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 307 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 275บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 267 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0-4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 291 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 301 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 3.32
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 275 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 307 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 275บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 267 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0-4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 291 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 301 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 3.32
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 335 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 329 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.82 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 355 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 339 บาท ภาคกลาง ร้อยฟองละ 310 บาท และภาคใต้ ร้อยฟองละ 370 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 380 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 335 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 329 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.82 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 355 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 339 บาท ภาคกลาง ร้อยฟองละ 310 บาท และภาคใต้ ร้อยฟองละ 370 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 380 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 91.30 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 91.31 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.01 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 90.33 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 86.44 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 92.88 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 102.86 บาท
กระบือ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 91.30 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 91.31 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.01 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 90.33 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 86.44 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 92.88 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 102.86 บาท
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 68.21 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 68.13 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.12 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 90.38 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 63.94 ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงานราคา
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 68.21 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 68.13 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.12 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 90.38 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 63.94 ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงานราคา
ประมง
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา(ระหว่างวันที่31มกราคม– 6 กุมภาพันธ์2563)ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้ คือ
2.1ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3-4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ50.00 บาทราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯเฉลี่ยกิโลกรัมละ 70.00 บาทราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.2 ปลาช่อน(ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 82.93 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 83.62บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.69 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯเฉลี่ยกิโลกรัมละ 130.00 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทยจ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 70ตัวต่อกิโลกรัมเฉลี่ยกิโลกรัมละ 140.93 บาทราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 142.79บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.86 บาท
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด70 ตัวต่อกิโลกรัม เฉลี่ยกิโลกรัมละ136.67บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 145.00บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 5.74 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาปลาทูสดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 88.62 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 78.33บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 10.29 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯเฉลี่ยกิโลกรัมละ 90.00 บาทราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาปลาหมึกกระดองสดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 142.00 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 200.00 บาทราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.00บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไปราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.00 บาทราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 30.40 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.60 บาทปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 25.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 24.40 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.60 บาท
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา(ระหว่างวันที่31มกราคม– 6 กุมภาพันธ์2563)ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้ คือ
2.1ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3-4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ50.00 บาทราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯเฉลี่ยกิโลกรัมละ 70.00 บาทราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.2 ปลาช่อน(ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 82.93 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 83.62บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.69 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯเฉลี่ยกิโลกรัมละ 130.00 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทยจ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 70ตัวต่อกิโลกรัมเฉลี่ยกิโลกรัมละ 140.93 บาทราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 142.79บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.86 บาท
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด70 ตัวต่อกิโลกรัม เฉลี่ยกิโลกรัมละ136.67บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 145.00บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 5.74 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาปลาทูสดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 88.62 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 78.33บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 10.29 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯเฉลี่ยกิโลกรัมละ 90.00 บาทราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาปลาหมึกกระดองสดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 142.00 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 200.00 บาทราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.00บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไปราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.00 บาทราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 30.40 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.60 บาทปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 25.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 24.40 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.60 บาท